การจัดการภาพ BMP
นายเอกธพงษ์ ลอนหิน 1/1 ชทค เลขที่ 7
อุปกรณ์ และ โปรแกรมที่ใช้
- Adobe Photoshop
- มือถือ รุ่น HUAWEI Pro 2019
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. ถ่ายภาพตน เป็นภาพต้นแบบ
ภาพที่ 1 ภาพต้นฉบับ |
ขนาดภาพ 75 Kb
ขนาดภาพ 80 Kb
เฉดสี เป็นการนำสีต่างๆ ของ Hue มาเติมสีดำลงไปให้มีสีที่ทึบลง ซึ่งเหมือนกับการลดค่า brightness ทำให้สีมีความเข้มขึ้น ทึบขึ้น เช่น จากสีเขียวกลายเป็นสีเขียวแก่ เป็นสีที่เรามักเห็นบนเงาที่อยู่บนวัตถุหรือฉากหลังต่างๆ
ความแตกต่่าง : ภาพเฉดสีเทา ทำให้มองวัตถุได้ชัดมากขึ้น แตกต่างกับภาพขาวดำที่ทำให้มองไม่เห็นเงาที่อยู่บนวัตถุหรือฉากหลังต่างๆ
ระบบสีแบบ 8 บิต บางทีถูกเรียกว่าระบบสีแบบ 24 บิต
ไฟล์ jpg คือ
JPEG เป็นไฟล์รูปที่มีมาอย่างยาวนาน เปิดตัวครั้งแรกในปี ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535)
3.2 ภาพ GIP
3.3 ภาพ PNG
ขนาดภาพ 102 Kb
ไฟล์ PNG คือ
ไฟล์ PNG ย่อมาจาก Portable Network Graphics ใช้วิธีการบีบอีดไฟล์แบบ DEFLATE ที่ไม่มีการสูญเสียข้อมูลระหว่างบีบอัด (Lossless) ทำให้ไฟล์รูป PNG มีคุณภาพสูงกว่า JPEG และคมชัดกว่าอย่างชัดเจน แต่แน่นอนว่าขนาดไฟล์เองก็มีแนวโน้มที่จะใหญ่กว่าด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ ข้อดีอีกอย่างหนึ่งของ PNG คือ รองรับภาพที่มีพื้นหลังโปร่งใสด้วย (Transparent)
ภาพนี้ถ่ายด้วยกล้องมือถือ รุ่น HUAWEI Pro 2019
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
2. เปลี่ยนภาพต้นแบบเป็นภาพ BMP ต่างๆดังนี้
2.1 ภาพขาวดำ
ภาพที่ 2.1 ภาพขาวดำ |
ภาพถ่ายขาวดำ หรือที่เรียกกันว่าภาพถ่ายโทนสีเดียว
เป็นภาพที่มีสองเฉดสีเท่านั้น การถ่ายภาพชนิดนี้ผลักดันให้ช่างภาพคิดมากกว่าเพียงเรื่องสี
และทำการสำรวจรูปร่าง พื้นผิว และโทนของสภาพแวดล้อม เพื่อให้ได้ภาพที่น่าสนใจมากยิ่งขึ้น
ความแตกต่าง : ภาพขาวดำ จะเป็นภาพสีโทนเดียว แตกต่างจากต้นฉบับที่มีสีสันต่างๆของภาพ
ขนาดภาพ 80 Kb
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
2.2 ภาพเฉดสีเทา 8 บิต
เฉดสี เป็นการนำสีต่างๆ ของ Hue มาเติมสีดำลงไปให้มีสีที่ทึบลง ซึ่งเหมือนกับการลดค่า brightness ทำให้สีมีความเข้มขึ้น ทึบขึ้น เช่น จากสีเขียวกลายเป็นสีเขียวแก่ เป็นสีที่เรามักเห็นบนเงาที่อยู่บนวัตถุหรือฉากหลังต่างๆ
ความแตกต่่าง : ภาพเฉดสีเทา ทำให้มองวัตถุได้ชัดมากขึ้น แตกต่างกับภาพขาวดำที่ทำให้มองไม่เห็นเงาที่อยู่บนวัตถุหรือฉากหลังต่างๆ
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ภาพ 8 บิต เกิดจากการผสมสีของแสง 3 สี คือ แดง (Red) เขียว (Green) และน้ำเงิน (Blue)
ภาพ 8-bit จะสามารถเก็บภาพได้ 16 ล้านสี
ความแตกต่าง : ภาพ 8 บิต มีความโดนเด่่นในการแสดงสีของภาพออกมา ต่างจาก ภาพขาวดำ ที่ให้ความรู้สึกอยากดูมากขึ้่น
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
2.4. ภาพสี 24 บิต
ระบบสีแบบ 8 บิต บางทีถูกเรียกว่าระบบสีแบบ 24 บิต
เนื่องจากเอาสีทั้ง 3 สีมารวมกัน สีละ 8 บิต 3 สี คือ 8 x 3 = 24 บิต
ความแตกต่าง : ภาพ 24 บิต มีความแตกต่างกับต้นฉบับเล็กน้อย สิ่งที่ทำให้เห็นได้ชัดคือภาพ 8 บิต กับ 24 บิต จะแสดงให้เห็นว่า สี ทั้ง2แบบต่างกันขนาดไหน
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
3. เปลี่ยนภาพต้นฉบับเป็น ภาพ JEPG, GIP, PNG
3.1 ภาพ JEPG
JPEG เป็นไฟล์รูปที่มีมาอย่างยาวนาน เปิดตัวครั้งแรกในปี ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535)
พัฒนาโดยกลุ่ม Joint Photographic Experts Group (ย่อได้ว่า JPEG นั่นเอง)
ด้วยความสามารถในการบีบอัดไฟล์รูปให้มีขนาดเล็กลงจากเดิมหลายเท่า
ทำให้มันได้รับความนิยมสูงมากมาจนถึงปัจจุบัน
ข้อดี
ไฟล์มีขนาดเล็ก
รองรับการทำงานร่วมกับระบบ EXIF
รองรับการทำงานอย่างกว้างขวาง
ข้อเสีย
เป็นการบีบอัดไฟล์แบบสูญเสียคุณภาพ (Lossy)
ไม่เหมาะกับงานพิมพ์ที่เป็น CMYK
ไม่รองรับการทำพื้นหลังแบบโปร่งใส (Transparency)
คุณภาพไฟล์แย่ลงทุกครั้งที่มีการบันทึก
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
3.2 ภาพ GIP
ไฟล์ GIF คือ
GIF ย่อมาจากคำว่า “Graphics Interchange Format” หมายถึง ลักษณะของแฟ้มภาพและภาพเคลื่อนไหว ซึ่งถูกออกแบบโดย CompuServe ระบบเครือข่ายแบบออนไลน์
เพื่อให้สามารถใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ทุกรุ่น ซึ่งเหมาะสำหรับการนำมาใช้บนเว็บเพจ (Webpage)
โดยกราฟิกสกุล GIF มีรูปแบบการบีบอัดข้อมูลเพื่อลดพื้นที่การจัดเก็บจึงทำให้เหมาะ
สำหรับกราฟิกที่มีการใช้สีแบบสม่ำเสมอและไม่ต้องการความละเอียดมากนัก เช่น ภาพการ์ตูน ไอคอน หรือโลโก้ต่าง ๆ เพราะมีข้อจำกัดในการใช้สีทางด้านกราฟิกได้สูงสุดเพียง 256 สีเท่านั้นจึงไม่เหมาะสมกับไฟล์ภาพที่ต้องการความละเอียดสูง
ข้อดี
รองรับการทำภาพเคลื่อนไหว (ได้รับความนิยมสูงกว่า APNG มาก)
นิยมใช้ทำแบนเนอร์โฆษณา และ Meme ต่างๆ
รองรับการทำพื้นหลังแบบโปร่งใส (Transparency)
ข้อเสีย
หากใช้กับภาพที่มีรายละเอียดสูง จะมี Noise เยอะ
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
3.3 ภาพ PNG
ภาพที่ 3.3 ภาพ PNG |
ไฟล์ PNG ย่อมาจาก Portable Network Graphics ใช้วิธีการบีบอีดไฟล์แบบ DEFLATE ที่ไม่มีการสูญเสียข้อมูลระหว่างบีบอัด (Lossless) ทำให้ไฟล์รูป PNG มีคุณภาพสูงกว่า JPEG และคมชัดกว่าอย่างชัดเจน แต่แน่นอนว่าขนาดไฟล์เองก็มีแนวโน้มที่จะใหญ่กว่าด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ ข้อดีอีกอย่างหนึ่งของ PNG คือ รองรับภาพที่มีพื้นหลังโปร่งใสด้วย (Transparent)
ข้อดี
บีบอัดไฟล์แบบ Lossless ไม่สูญเสียคุณภาพเดิมไปจากต้นฉบับ
รองรับการทำพื้นหลังแบบโปร่งใส (Transparency)
แสดงผลตัวอักษร หรือภาพ Screenshot ได้ดีเยี่ยม
รองรับภาพเคลื่อนไหว (นามสกุล Animated Portable Network Graphics (APNG)
ข้อเสีย
ไม่รองรับ EXIF แบบ Native
ไฟล์มีขนาดใหญ่กว่า JPEG
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ขนาดภาพต่างๆ
ภาพที่ 1 ขนาดภาพ 75 Kb
ภาพที่ 2.1 ขนาดภาพ 80 Kb
ภาพที่ 2.2 ขนาดภาพ 150 kb
ภาพที่ 2.3 ขนาดภาพ 240 kb
ภาพที่ 2.4. ขนาดภาพ 84 kb
ภาพที่ 3.1 ขนาดภาพ 75 Kb
ภาพที่ 3.2 ขนาดภาพ 39 Kb
ภาพที่ 3.3 ขนาดภาพ 102 Kb
แหล่งอ้างอิง
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น